วันอาทิตย์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และลักษณะอันพึงประสงค์

1.มนุษย์สัมพันธ์
-แสดงกิริยาท่าทางสุภาพต่อผู้อื่น
-พูดจาสุภาพ
-ช่วยเหลือผู้อื่น
-รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-ชื่นชมยินดีเมื่อผู้อื่นสำเร็จ
-ขอบคุณ ขอโทษ ได้อย่างเหมาะสม

2.ความมีวินัย
-ทำตามกฎระเบียบขอบังคับข้อตกลงของวิทยาลัย
-ทำตามศีลธรรมอันดีงาม

3.ความรับผิดชอบ
-มีการเตรียมความพร้อมในการเรียน
-ทำงานตามขั้นตินที่วางไว้
-ทำงานด้วยความตั้งใจ
-ทำงานด้วยความระเอียดรอบคอบ
-ทำงานที่ได้รับมอบหมายเสร็จตามกำหนด
-มีความเพียรในการเรียน
-ทำงานตามหน้าที่ของตนเอง
-ยอมรับผลการกระทำของตนเอง
-ทำงานโดยคำนึงถึงคงามปลอดภัยของผู้อื่น
-ทำงานโดยคำนึงถึงความปลอดภัยของส่วนรวม

4.ความซื่อสัตย์สุจริจ
-พูดความจริง
-ไม่นำเอาผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
-ไม่ทุจริตในการสอบ
-ไม่ลักขโมย

5.ความเชื่อมั่นในตนเอง
-กล้าแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
-กล้าทักท้วงในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
-กล้ายอมรับความจริง
-เสนอตัวเข้าแข่งขัยหรือทำงานท้าทาย
-กล้าแสดงออกในทางที่ถูกต้อง

6.การประหยัด
-ใช้วัสดุถูกต้องเหมาะสมกับงาน
-ปิดน้ำปิดไฟทุกครั้งที่เลือกใช้
-ใช่จ่ายเงินส่วนรวมให้เกิดประโยชน์สูงสุด

7.ความสนใจใฝ่รู้
-ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
-ซักถามปัญหาข้อสงสัย
-แสวงหาความรู้
-มีความกระตือรือล้นในการหาความรู้ใหม่

8.การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน
-ไม่สูบบุหรี่
-ไม่ดื่มสุราของมึนเมา
-ไม่เสพสิ่งเสพติดอื่นๆ
-ไม่เล่นการพนัน
-หลีกเลี่นยงการเข้าไปอยู่ในสถานที่การเล่นการพนัน

9.ความรักความสามาคคี
-ไม่ทะเลาะวิวาท
-ความร่วมมือในการทำงาน

10.ความกตัญญูกตเวที
-ตระหนักในพระคุณครูอาจารย์
-มีสัมมาคารวะต่อครูอาจารย์
-อาสาช่วยเหลือครูอาจารย์

11.ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
-คิดสิ่งใหม่ๆเกดประโยชน์ต่อตนเอง
-มีความคิดหลากหลายในการแก้ปัญหา

12.การพึ่งตนเอง
-สามารถแก่ปัญหาเฉพาะหน้าได้
-สามารถทำงานที่ได้รับมอบหมายได้ด้วยตนเอง
-หารายได้พิเศษ

วันอาทิตย์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

จรรยาบรรณ

ความหมายของจรรยาบรรณ
ตามพจนานุกรมได้ให้ความหมาบยไว้ว่า ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบการอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเยงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้ จรรยาบรรณจึงเป็นหลักของความประพฤติ ของบุคคลในกลุ่มของอาชีพ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยววจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรม

จรรยาบรรณพนักงานคอมพิวเตอร์
1.มีควมซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
2.ไม่ละทิ้งงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3.ไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับกับผู้อื่น
4.มีความจงรักภักดีกับองค์กรณ์
5.อุทิศตยให้กับวิชาชีพอย่างเต็มความสามารถ
6.ไม่ทุจรัฃิตคอรัปชั่น
7.มีความรักและศรัธทากับอาชีพ

จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้อินเทอร์เนต
1.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3.ไม่สอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ต้องไม่ใช่คอมพิวเตอรืเพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5.ต้องไม่ใชคอมพิวเตอร์สร้างหลัก,ฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม้คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธ์
7.ต้องไม้ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธ์
8.ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม อันติดตามมาจากการกระทำของท่าน
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฏระเบียบ กติกา มารยาท

อาชญรรม 6 ประเภท
1.การเงิน
อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององค์กรธุรกิจในการทำธุรกรรม
2.การละเมิดลิขสิทธ์
การคัดลอกผลงานที่มีลิขลิทธ์ เพื่อจำหน่ายเผยแพร่ผลงานสร้างสรรที่ได้รับการคุ้มครองลิขสิทธ์
3.การเจาะระบบ
การให้ได่มาซึ่งสิทธ์ในการเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์หรืดเครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต เช่นการปลอมแปลงการก่อการร้าย
4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์
เนื่องมาจากการเจาะระบบ เพื่อสร้างความหวาดกลัวเช่นเดียวกับการก่อการร้ายทั่วไป
5.ภาพอนาจารทางออนไลน์
การเผยแพร่ภาพลามกอนาจารถือเป็นการกระทำที่ผิดกฏหมาย
6.ภายในโรงเรียน
แม้ว่าในอินเทอร์เนตจะเป็นทรัพยากรที่ใช้ศึกษาแต่เยาวชนจำเป็นต้องได้รับทราบวิธีการใช้งานเครื่องมือนี้อย่างปลอดภัย

สรุป
ในการทำงานทุกอาชีพย่อมจะต้องมีจรรยาบรรณที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ทุกคนมีคุณธรรมจริยธรรมใช้เป็นหลักยึดถือในการปฏิบัติงานตามหน้าที่ให้เกิดประสิทธฺภาพ ปราศจากอคติและข้อครหาใดๆในการทำงานทำฝห้ผลงานที่ทำออกมาประสบผลสำเร็จได้เป็นอย่างดี จรยาบรรณในแต่ละอาชีพ ย่อมแตกต่างกันไปตามลักษณะงาน แต่รวมๆแล้วมุ่งให้ทุกคนทำแต่ในสิ่งดีงามตามแต่ละอาชีพจะกำหนดขึ้นมา